• Nenhum resultado encontrado

MCQ-2558 part 2

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2021

Share "MCQ-2558 part 2"

Copied!
14
0
0

Texto

(1)

MCQ12 : 1/2558

Case: กฎหมาย รานยาฟารมาซี มีนาย ก. เปนผูรับอนุญาต นาย ข. เปนผู มีหนาที่ปฏิบัติการ ไปตรวจรานในเวลาทําการ ไมพบนาย ข.อยูในราน เจาหนาที่จึงทําการลอซื้อยา Omeprazole โดยนาย ก. เปนผูหยิบขายยา จากการตรวจสอบภายใน ราน พบปายชื่อผูมีหนาที่ปฏิบัติการคือ นาย ฮ. ซึ่งไมตรง กับในใบอนุญาต 1. กรณีที่มีการขายยา Omeprazole เกิดขึ้นในราน เปน ความผิดของใคร ตามขอใด 1. 2. 3. ผูรับอนุญาตผิด ฐานขายยาอันตรายในขณะที่ เภสัชไมอยูปฏิบัติการ 4. 5. รานยาสองฟารมาซี มีนาย ค เปนผูรับอนุญาต มีนาย ง เปนผูปฏิบัติงาน ไปตรวจวันที่ xx ไมบอกเวลา ไมเจอ เภสัช ง ในเวลาปฏิบัติงานของเภสัช ลูกจางเลยตอสายหา เภสัช ง ใหซึ่งอยูที่ รพ.เอกชน เภสัชบอกวา …. แลวก็ พบวาเภสัชคนเดิมไปมีชื่ออยูที่รานยาเชียงใหม วันที่ซอน กัน เวลาเหลื่อมนิดนึง… แลวก็พบวาที่รานแปะวาเภสัชที่ ปฏิบัติงานคืออีกคนนึง ตรวจพบผลิตภัณฑ เอเอ มีเลข G 256/2553 และผลิตภัณฑ บีบี มีตรา อย.ตามดวยตัวเลข 11-... (เลข ทั้งหมด 13 หลัก) 6. ผลิตภัณฑ เอเอ จัดเปนประเภทใดตามกฏหมาย 1. ยาแผนโบราณ 2. ยาสมุนไพร 3. 4. 5. 12. ใครผิดจรรยาบรรณบาง 1. 2. 3. 4. 5. ข ง ฮ Case 1: ผูปวยหญิง อายุ 24 ปมีอาการตกขาว สีเขียวเหลือง มีฟอง คันมาก ผูปวยสวนลางชองคลอดเปนประจํา นอนดึก เมื่อ 2 เดือนกอนมีประวัติใชยา Amoxycillin ปฏิเสธแพยา เมื่อ 1 สัปดาหกอน มีเพศสัมพันธกับแฟนโดยไมไดใส ถุงยางอนามัย 1. นาจะติดเชื้อใด 1. Candida albicans 2. Trichomonas vaginalis 3. Gardnerella vaginalis 4. Clamydia trachomatis 5. Neiseria gonorrhea 2. ขอใดนาจะเปนสาเหตุของการติดเชื้อในครั้งนี้มากที่สุด 1. การใชยาปฎิชีวนะ 2. นอนดึก 3. สวนลางชองคลอดเปนประจํา 4. ประวัติการมีเพศสัมพันธ 5. อายุ 3. ยาในขอใดใชในการรักษาผูปวยรายนี้ 1. Metronidazole 2. Clotrimazole 3. Azithromycin 4. cefixime 5. Norfloxacin 1

Rx

71

CU

(2)

ตอมาผูปวยมีอาการตกขาวซ้ํา มีอาการคัน แพทยวินิจฉัย เปนตกขาวจากเชื้อรา จึงไดสั่งจายยา fluconazole ให 4. ขอใดไมใชขอแนะนําเกี่ยวกับยา fluconazole 1. ไมควรรับประทานรวมกับยาอื่นเนื่องจากอาจ เกิดอัตรกิริยาระหวางยาได 2. 3. ยาอาจทําใหเกิดพิษตอตับ ดังนั้นควรหลีกเลี่ยง การดื่มแอลกอฮอล 4. รับประทานยาตอเนื่องกัน 7 วัน 5. ควรรับประทานหลังอาหารเพื่อชวยในการดูด ซึมยา

5. Fluconazole เปน strong CYP inhibitor ของ CYP ใด 1. 1A2 2. 2C9 3. 2E6 4. 1E2 5. 2D6 6. กลไกการออกฤทธิ์ของยา fluconazole 1. ยับยั้งการสรางสวนประกอบของเยื่อหุมเซลล 2. ยับยั้งการสรางสวนประกอบของผนังเซลล 3. ทําลายผนังเซลล 4. ยับยั้งการสังเคราะห DNA 5. ยับยั้ง Mitotic spindle 7. เตรียมยาเหน็บชองคลอดของยา Clotrimazole ขนาด 0.1 กรัม/แทง จํานวน 1 แทง ยาเหน็บ PEG เปลาแทงละ 2.5 กรัม จะตองใช PEG Base หนักเทาใด ยามีคา DV = 1 (ความหนาแนน PEG = 1.2 เทาของ Theobroma oil) 1. 2.00 2. 2.40 3. 2.38 4. 2.42 5. 2.50 Case 2: ผูปวยชาย 2 สัปดาหกอนมาโรงพยาบาลมีไข เจ็บคอ ปวด เมื่อยตามตัว หลังจากนั้นมีผื่นลอกตามตัว มีแผลในปาก เจ็บตา ไมมีขี้ตา ปากลอก มีแผลในปาก แพทยวินิจฉัยวา เปน Toxic epidermal necrolyisis with secondary bacterial infection และพิจารณาใหเขารับการรักษาใน หออายุรกรรมผูปวยหนัก (ICU) โดยใหยา Cloxacillin 2 g IV stat ผูปวยมีโรคประจําตัวเปนความดันโลหิตสูง เบาหวาน และเกาต ยาที่ไดรับ ไดแก 6 เดือนกอน ไดรับ Glibenclamide 2 เดือนกอน ไดรับ Enalapril 1 เดือนกอน ไดรับ Allopurinol(100) 1x1 pc 2 สัปดาหกอน มีอาการไข เจ็บคอ ปวดเมื่อยตามตัว แตไมไดไปหาหมอ 1 สัปดาหกอน เริ่มมีจุดขึ้นเล็กนอย มีแผลในปาก 1 วันที่แลว ผื่นขึ้นตามตัวมาก 1. ขอใดนาจะเปนสาเหตุของ Toxic epidermal necrolyisis นี้ 1. Allopurinol 2. Glibenclamide 3. Enalapril 4. S. aureus 5. ชื่อเชื้ออะไรไมรู 2. ขอใดไมใชเหตุผลที่แพทยวินิจฉัยวาผูปวยรายนี้เปน Toxic epidermal necrolyisis

1. มีแผลในปาก 2. มีผิวหนังลอกมากกวา 30% ของพื้นที่ผิว รางกาย 3. ไดรับยาที่มีอุบัติการณของการเกิด TEN มาก 4. 2 สัปดาหกอนมาโรงพยาบาลมีไข เจ็บคอ ปวด เมื่อยตามตัว 5. ผูปวยมีโรคประจําตัวมากกวา 1 โรค 2

Rx

71

CU

(3)

3. ผูปวยได cloxacillin แลวมีอาการแสบบริเวณเสนที่ให ยา ขอใดถูกตอง 1. ไมเปนอาการไมพึงประสงค เพราะเกิดจากการ ใหยาผิด 2. ไมเปนอาการไมพึงประสงค …. 3. เปนอาการไมพึงประสงคที่ไมสามารถปองกันได เพราะยา cloxacillin มีความเปนกรด 4. เปนอาการไมพึงประสงคที่ไมสามารถปองกันได เพราะเกิดไดอยูแลวจากการใหยานี้ 5. เปนอาการไมพึงประสงคที่สามารถปองกันได โดยใหยาแบบ IV infusion 30-60 นาที 4. การเกิดอาการไมพึงประสงคของผูปวยตาม NCC MERP จัดอยูในระดับใด 1. A 2. B 3. C 4. F 5. I 5. อาการไมพึงประสงคของผูปวยจัดเปนการแพยาแบบใด 1. Type I 2. Type II 3. Type III 4. Type IV 5. Mixed type 6. ถาผูปวยแพโปรตีนจากสัตวทุกประเภทหามใช ผลิตภัณฑจากธรรมชาติในขอใด 1. Acacia 2. Bentonite 3. Alginate 4. Gelatin 5. Pectin 7. หากตองการเตรียม hydrophilic colloid ที่มีประจุ บวกควรเลือกใช polymer ตัวใด 1. Carageenan 2. Chitosan 3. Gelatin B 4. Tragacanth 5. Veegum 8. หากผูปวยแพยากลุม sulfonamide antibiotic ควร หลีกเลี่ยงการใชยาในขอใดตอไปนี้ (ใหโครงสรางมา) 1. 2. 3. Allopurinol 4. Cloxacillin 5. Hydrochlorothiazide 3

Rx

71

CU

(4)

Case 3:

ผูปวยชายไทย อายุ 70 ป มีอาการหอบเหนื่อย ประวัติ เปนโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง

CXR : Hyperinflation and left lower lung pneumonia ประวัติสูบบุหรี่: สูบตั้งแตอายุ 25 ป วันละ 20 มวน เลิก สูบเมื่อ 5 ปที่แลว ได oxygen มาจากบาน ยาเดิม tiotropium ipratopium/fenoterol prn Formoterol/Salmeterol พนวันละ 2 ครั้ง เชา - เย็น ทุกวัน T 38.5 C RR 32 ครั้ง/นาที FEV 40% 1.ขอใดผิด 1. Hyperinflation ไมไดสัมพันธกับ COPD 2. Pneumonia ทําใหเกิด exacebation ได 3. FEV1 < 40% แสดงถึงความรุนแรงของโรค ระดับ severe 4. ผูปวยไมจําเปนตองตรวจ Methacholine test 5. คาสูบบุหรี่ pack-year เทากับ 40 2. ผูปวยควรไดรับการรักษาอะไรเพื่อบรรเทาอาการ เบื้องตนไดดีที่สุด 1. 2. Formoterol 3. Salbutamol 4. Tiotropium 5. Budesonide 3. ขอใดไมไดเปนเกณฑในการใหยาฆาเชื้อ 1. ภาพเอกซเรยมีฝาที่ปอด (CXR ...infiltration??) 2. หายใจมีเสียงวี้ด 3. เสมหะเขียว 4. มีไข 5. ไอมากขึ้น 4. การปองกันในระยะยาว 1. แนะนําใหฉีด influenza vaccine ทุก 5 ป 2. พ น ย า Salmeterol/fluticasone อ ย า ง สม่ําเสมอ 3. Montelukast 4. Prednisolone 5. Roxithromycin 5. ผูปวยรายนี้ควรไดรับ Prednisolone 5 mg 2x2 pc นานเทาใด 1. 5 วันแลวหยุดยา 2. 21 วันแลวหยุดยา 3. 28 วันแลวลดขนาดยาลง 10% 4. 30 วันแลวลดขนาดยาลง 10% 5. ใชยาตอเนื่องระยะยาว 6. ใหสูตรตํารับยา aerosol ที่มี alcohol เปนกระสาย ละถามวา dosage form อะไร สูตร Isoproterenol sulfate 33 g Oleyl alcohol 33 g Ascorbic acid 3.3 g Myristyl alcohol 33.3 g 1. Emulsions 2. Solutions 3. Suspensions 4. Powders 5. Liposome Nanoparticle 7. ถามเกี่ยวกับ DPI 1. Dry powder ใชแรงนอยกวา 2. มีการใชสาร propellant

3. Dry powder มักใช lactose เปน carrier 4. Expiratory volume ของผูปวยมีผลตอการ นําสงยา 5. ลักษณะอุปกรณไมมีผล หรืออันนี้ รูปแบบ อุปกรณนําสงยามีผล 4

Rx

71

CU

(5)

Case 4:

เบาหวาน

ไดยา Glipizide 5 mg ครั้งละ2เม็ด bid, simvastatin 20mg วันละ1ครั้ง คุมไดมาโดยตลอด 1. วิธีการผลิตยา insulin ที่ใชในปจจุบันไดมาจากอะไร 1. เซลลตับออนของวัว 2. recombinant DNA 3. ไดจากการสังเคราะหจากสารเคมี 4. สกัดจากเบตาเซลลของคน 5. สกัดจากสัตวที่ดัดแปลพันธุกรรม 2. ใชยามานานคุมน้ําตาลดี แตอยูดีๆ FBS กับ HBA1C เกิน (อยูที่ประมาณ 9 กวาๆ) เกิดจากอะไร

1. Dosage too low 2. Dosage too high 3. Need additional drug 4. Wrong drug

5. Adverse drug reaction 3.ขอใดถูกเกี่ยวกับยาลดน้ําตาลที่ผูปวยใช 1. เปน insulin sensitizer 2. ใหกินกอนหรือหลังอาหารก็ได 3. ไมควรใหรวมกับ glinide 4. ไมเลือกเปนยาอันดับแรก เพราะลด HbA1Cไม ดี 4. ขอใดเปนผลขางเคียงโดยทั่วไปของ Glibenclamide 1. Hypoglycemia 5. หลังจากมาพบแพทยตามนัดครั้งสุดทายหากผูปวยไม สามารถควบคุมระดับน้ําตาลไดจะเพิ่มยาชนิดใด 1. RI กอนนอน 2. Insulin NPH กอนนอน 3. Insulin Aspart กอนอาหาร เชา-กลางวัน-เย็น 4. Insulin Glagine เชา - เย็น 5. insulin lispro กอนนอน Case 5: ผูปวยหญิง อายุ 55 ป ไดรับการวินิจฉัยเปนมะเร็งเตานม ไดรับยาสูตร AC 5 cycle doxorubicin 60 mg/m2 cyclophosphamide... ER+ ให Tamoxifen 1. ข อ ใ ด คื อ ผ ล ข า ง เ คี ย ง ที่ สํ า คั ญ ข อ ง ย า Cyclophosphamide 1. Hemorrhagic cystitis 2. Hepatitis 3. Stromatitis 4. Hand-foot syndrome 5. 2. กลไกของ cyclophosphamide 1. Alkylating 2. ยับยั้ง Mitotic spindle 3. ยับยั้ง Topoisomerase II 4. 5. 3. Doxorubicin Cyclophosphamide Tamoxifen จากโครงสราง ขอใดผิด 5

Rx

71

CU

(6)

1. Doxorubicin ออกฤทธิ์โดยทําลาย DNA ของเชื้อ 2. Cyclophosphamide เปน prodrug

3. Tamoxifen เปน non-steroidal antiestrogen 4. Doxorubicin ออกฤทธิ์เปน intercalating ตอสาย DNA 5. Metabolite ข อ ง cyclophosphamide คื อ acrolein 4. ผูปวยควรไดรับ Tamoxifen เปนเวลานานเทาใด 1. 14 วัน 2. 30 วัน 3. 6 เดือน 4. 1 ป 5. 5 ป 5. อาการขางเคียงของ Tamoxifen 1. Deep vein thrombosis 2. เบาหวาน

3. Hypertension 4. Electrolyte Imbalance 5. Dyslipidimia

6. การเตรียมยามะเร็ง ขอใดผิด

1. biological safety cabinet class I ดี ก ว า class II

2. biological safety cabinet ตั้งใน class 100-1000

3. BSC class II มี hepa fillter ที่สามารถกรอง อากาศได 100%

4. biological safety cabinet มีทิศทางลมใน แนวตั้ง 5. เครื่องมือที่ใชเตรียมยาเคมีบําบัดหามฆาเชื้อโดย วิธี autoclave 7. ขอใดผิด 1. ยามะเร็งเตรียมในหองที่มีแรงดันเปนแบบ positive pressure 2. 3. ใสเสื้อ lint-free 4. 5.

8. tamoxifen เปน prodrug มีการ metabolize ดวย CYP2D6 ไดเปน active metabolites - ขอใดถูกตอง

1. การใช tamoxifen รวมกับ fluoxetine ซึ่งมี กระบวนการ metabolize ผาน CYP2D6 g เชนเดียวกัน จะทําใหตอบสนองตอยาดีขึ้น 2. หากผูปวยเปน poor metabolze ของ CYP

2D6 จะตองเปลี่ยนไปใชยาในกลุม aromatase inhibitor 3. ห า ก ผู ป ว ย เ ป น rapid merabolize ข อ ง CYP2D6 จะใชยาไมไดผล 4. 5. ตามทฤษฎีแลวควรมีการตรวจยีนกอนเริ่มใหยา tamoxifen แกผูปวย Case 6:

gout ผูปวยเปน acute gout มีอาการปวดอยางรุนแรง มี บวมแดงรอนที่ขอนิ้วเทา ตรวจพบ uric acid 11 mg/dl ยาที่รับประทานเปน ประจํา มียา HCTZ 25 mg simvastatin 40 mg 1xhs 1. ขอใดไมใชปจจัยเสี่ยงของการเกิดอาการของโรคเกาต กําเริบเฉียบพลัน 1. เพศ 2. อวน 3. การมีระดับยูริกในเลือดที่สูง 4. ดื่มสุรา 5. ออกกําลังกาย 6

Rx

71

CU

(7)

2. กลไกของยาที่ทําใหเกิดโรค gout กําเริบในผูปวยรายนี้ 1. ลดการสรางกรดยูริค 2. กระตุน Xantine oxidase 3. ลดการขับออกของยูริกในปสสาวะ 4. เพิ่มการสราง Prostaglandin 5. เพิ่มการสราง P glycoprotein 3. ยาใดที่ใชบรรเทาอาการเฉียบพลันของผูปวยรายนี้ได 1. Colchicine 2. Allopurinol 3. Probenecid 4. Paracatamol 5. Sulfapyridine 4. ยาใดที่ใชบรรเทาอาการของผูปวยรายนี้ไดในระยะยาว 1. Allopurinol 2. Celecoxib 3. Prednisolone 4. Colchicine 5. Paracetamol 5. อาหารใดที่ผูปวยสามารถรับประทานได 1. ปลาดุกยาง 2. ปลาหมึกไขนึ่งมะนาว 3. หนอไมผัดกุง 4. ตมเครื่องในหมู 5. ปกไกทอด Case 7: ผูปวยชาย มาดวยอาการหอบเหนื่อย ไมเคยรับประทาน ยาใดมากอน ไมเคยมีโรคประจําตัว

แพทยวินิจฉัยเปน Heart failure with left ventricular hypertrophy ระหวางอยูพบวา … เปนความดัน?? BP 160/105 mmHg ยากลับบาน Furosemide 40 mg 1x1 pc Enalapril 20 mg 1x1 pc 1. ขอใดไมใชปจจัยเสี่ยงของผูปวยรายนี้ที่ทําใหเกิด Acute HF 1. เพศชาย

2. left ventricular hypertrophy 3. โรคความดันโลหิตสูง 4. ดื่มแอลกอฮอล 5. ออกกําลังกาย 2 ควรเริ่มการรักษาในโรงพยาบาลอยางไร 1. Captopril 2. Intravenous furosemide 3. Isosorbide dinitrate SL 4. Chewable aspirin 5. Nebulized Salbutamol 3. ควรแนะนําอะไรแกผูปวย 1. ออกกําลังกายใหนอยที่สุด 2. รับประทานกลวยสมใหคงที่ 3. จํากัดการดื่มน้ําใหไมเกินวันละ 1.5 ลิตร 4. 5. ระวังไมใหทองผูก 4. คําแนะนําเกี่ยวกับยา Furosemide 1. รับประทานเวลาไหนก็ได แตควรเปนเวลา เดียวกันทุกวัน 2. รับประทานวันละ 1 เม็ดไมเกินเวลาเที่ยง 3. หากลืมรับประทานไมเกิน 12 ชั่วโมง สามารถ รับประทานทันทีที่นึกได 4. หลีกเลี่ยงการรับประทานรวมกับนมและยาลด กรด 5. รับประทานยาแลวดื่มน้ําตามมากๆ 7

Rx

71

CU

(8)

5. อีก 2 สัปดาห ผูปวยมาพบแพทยตามนัด ยาใดที่ควร ใหแกผูปวย 1. Spironolactone 2. Carvedilol 3. Captopril 4. Losartan 6. เพื่อความปลอดภัยของผูปวย ควรตรวจคาใดกอนเริ่ม ใชยา enalapril 1. Scr 2. ALP 3. CK 4. bilirubin Case 8: ผูปวยหญิงมารานยา มีอาการแสบยอดอก กินขาวเย็นแลว นอน ดื่มสุรา ชอบกินของรสจัด นาจะเปน GERD 1. เกิดจากอะไร 1. การสรางกรด และ mucoprotective ไมสมดุล กัน 2. หูรูดของหลอดอาหารสวนลางทํางานไมดี 3. ติดเชื้อ H.pylori 4. มีการอักเสบของหลอดอาหารสวนลางของ ทางเดินอาหาร 2. ขอใดไมใชปจจัยเสี่ยงของโรค GERD 1. อวน 2. รับประทานอาหารรสเผ็ดจัด 3. สูบบุหรี่ 3. อาการใดที่ควรสงตอไปพบแพทย 1. ทองอืด 2. กลืนลําบาก 3. แสบยอดอก 4. เรอเปรี้ยว 5. คลื่นไส อาเจียน 4. ยาใดไมควรใชในผูปวย GERD 1. Paracetamol 2. Nifedipine 3. Glibenclamide 4. Amiloride 5. HCTZ 5. ขอใดถูก 1. ควรให Metoclopamide สําหรับผูปวยระยะ severe เปน maintenance therapy 2. Lifestyle modification มีประโยชนมากกสา การใชยา ในการรักษาอาการกําเริบของผูปวย 3. ยา PPI มีประสิทธิภาพเหนือกวา H2 blockers ในการรักษา GERD 4. ในผูปวยที่มีอาการกําเริบไมรุนแรงสามารถให prokinetic ตัวเดียวเพื่อควบคุมอาการได Case 9: ผูหญิง นอนไมหลับมา 1 เดือน เพิ่งเลื่อนตําแหนงทําให เครียด โดยใชเวลา 1 ชั่วโมงถึงจะนอนหลับ (ปกติ 30 นาที) เมื่อหลับตื่นกลางดึก 2-3 ครั้ง ไมสูบบุหรี่ ออกกําลัง กายกอนนอน 1 ชั่วโมงเพื่อชวยใหหลับ ดื่มชาและไวนเพื่อ ชวยใหหลับ งีบระหวางวัน พอเสียชีวิตเมื่อ 6 เดือนกอน แมปวยเปนโรคหัวใจและ มะเร็ง 1. ผูปวยเปนโรคอะไร

1. acute insomnia, sleep onset and maintainance

2. acute insommnia, sleep onset and maintainance and wake up early

3. acute insomnia, sleep onset and wake up early

4. chronic insomnia, sleep onset and maintainance

5. chronic insomnia, sleep onset and wake up early

8

Rx

71

(9)

2. hygiene sleep ที่ดีของผูปวยรายนี้คือขอใด 1. ไมสูบบุหรี่ 2. ออกกําลังกายกอนนอน 3. ดื่มไวนเพื่อชวยใหนอนหลับ 4. หลับ/งีบระหวางวันเพื่อรางกายใหสดชื่น 5. ดื่มชาเพื่อชวยใหนอนหลับ 3 ขอใดนาจะเปนสาเหตุในการนอนไมหลับของผูปวยราย นี้ 1. ความเครียดจากการทํางาน 2. การเสียชีวิตของบิดา 3. อาการเจ็บปวยของมารดา 4. ผูปวยควรไดรับยาใดในการรักษา 1. Diazepam 2. Lorazepam 3. Amitryptyline 4. Melatonin 5. Diphenhydramine 5. เราควรแนะนําการรักษาที่ไมใชยาอะไรใหผูปวย 1. Relaxation therapy 2. light therapy 3. Cognitive recognition 4. Sleep and wake restriction

6. การปรับเปลียนโครงสรางของ BDZs ขอใดถูกตอง 1. เมื่อมีการเติม halogen ที่ตําแหนง 7 จะเพิ่ม activity ใหกับยา 2. เติม halogen ที่ตําแหนง 9 3. hydrolysis ที่ N ตําแหนง 4 4. เปลี่ยน ketone ที่ ตําแหนง 2 เปนหมูฟงกชั่น อื่น Case 10: ผูปวยเด็กอายุ 5 ป ถูกหมากัด เปนแผลลึก มีเลือดออก แตไมทราบประวัติการฉีดวัคซีนของผูปวย 1. ถามเกี่ยวกับการฉีดวัคซีน ขอใดกลาวผิด 1. การฉีดเขากลามเนื้อตองฉีดวันที่ 0, 3, 7, 14, 28 2. หากสุนัขไมตายภายใน 10 วันใหหยุดการฉีด วัคซีนได 3. วัคซีนพิษสุนัขบาชนิดฉีดเขากลามเนื้อสามารถ เปลี่ยนไปใชผลิตภัณฑของบริษัทผูผลิตอื่นได 4. หากตองการฉีดวัคซีนพิษสุนัขบารวมกับให Immunoglobulin rabies ควรฉีดที่แขนคนละ ขางกัน 2. วัคซีนบาดทะยักเปนวัคซีนประเภทใด 1. Toxoid

2. Lived atenuated vaccine 3. Killed whole cell vaccine 4. Subunit vaccine 5. Acellular vaccine 3. หากแพทยตองการสั่งฉีดวัคซีนบาดทะยักในผูปวยราย นี้ ขอใดถูกตอง 1. ฉีดเพียงครั้งเดียว 2. ฉีดวันที่ 0 และเดือนที่ 1 3. ฉีดเดือนที่ 0, 1 และ 6 4. ฉีด 4 เข็ม เดือนที่ 0, 1, 6 และ 12 5. ไมตองฉีด 9

Rx

71

CU

(10)

4. ขอใดถูกเกี่ยวกับการฉีดวัคซีนพิษสุนัขบา 1. การฉีด Equine Ig ควรทดสอบการแพที่ผิวหนัง กอนการให (skin test) 2. Equine Ig ราคาแพงกวา Human Ig 3. หากแพ Equine Ig จะไมสามารถให Human Ig ได เนื่องจากมีการแพ cross กัน 4. Equine Ig มีราคาแพงกวา Human Ig 5. หากจะฉีด Equine Ig พรอมกับวัคซีนพิษสุนัข บา ใหฉีดที่แขนขางเดียวกัน 5. หากไมทราบประวัติการไดรับวัคซีน ควรไดรับการฉีด วัคซีนอยางไร 1. ฉีดวัคซีนบาดทะยัก 2. ฉีดวัคซีนปองกันพิษสุนัขบา 3. ฉีดอิมมูโนโกลบูลิน 4. ฉีดอิมมูโนโกลบูลิน และ วัคซีนปองกันพิษสุนัข บา 5. ฉีดวัคซีนบาดทะยัก อิมมูโนโกลบูลิน และ วัคซีน ปองกันพิษสุนัขบา 6. ERIG ควรมีการเก็บรักษาอยางไร 1. อุณหภูมิ ติดลบ 2. อุณหภูมิ 2-8 C 3. อุณหภูมิ 8-15 C 4. อุณหภูมิ 15-25C 5. อุณหภูมิ 25-30 C Case 11: เด็กหญิงอายุ 1 ป มีไขสูง เจ็บคอมาก กลืนอาหารแข็งได ลําบาก คอบวม มีตุมหนองในคอ ไมไอ ไมมีน้ํามูก 1. โรคที่เปนคือ 1. Diptheria 2. Viral pharyngitis 3. Bacterial Tonsilitis 4. Pneumocitis 5. Bacterial Sinusitis 2. โรคดังกลาวมีสาเหตุมาจากเชื้ออะไร 1. Hemophilus influenza 2. Streptococcus pyogenes 3. Corynebacterium dipteriae 4. Morexella cathalaris 5. Staphyllococcus aureus 3. การรักษาที่ควรใหแกผูปวยรายนี้ 1. ไมใหการรักษาและแนะนําใหไปพบแพทย 2. ไมใหการรักษา และแนะนําใหพักผอนมากๆ เนื่องจากสามารถหายเองได 3. ใหยา Amoxicillin รับประทานติดตอกันจน หมด 4. ใหยา Amoxicillin/Clavulanate รับประทาน ติดตอกันจนหมด 5. ใหยา Norfloxacin รับประทานติดตอกันจน หมด 4 .อาการแทรกซอนที่สามารถเกิดขึ้นได?? 1. Rheumatic fever 2. Influenza 3. Pneumonia 4. Lung fibrous 5. 3 อาทิตยตอมา ผูปวยมีอาการรุนแรงมากขึ้น แพทย วินิจฉัยวาเปนไขหวัดใหญ (Influenza) และใหยา Oseltamivir 0.6mg/ml sg. 30mg PO OD 10 วัน 5. กลไกการออกฤทธิ์ของยา Oseltamevir คือขอใด 1. ยับยั้ง DNA Gyrase 2. ยับยั้ง Neurominidase 3. ยับยั้ง Reverse transcriptase 4. ยับยั้งการสรางโปรตีนของเชื้อ 5. ยับยั้งการสรางผนังเซลลของเชื้อ 10

Rx

71

CU

(11)

6. หากตองการเตรียม Oseltamivie ตามแพทยสั่ง ดวย Oseltamivir Tablet 75 mg จะตองใชกี่เม็ด 1. 1 เม็ด 2. 2 เม็ด 3. 3 เม็ด 4. 4 เม็ด 5. 5 เม็ด 7. ในการเตรียม oseltamivir suspension (ใหสูตร ตํารับมา) พบวาเมื่อตั้งทิ้งไวตัวยามีการตกตะกอนเร็ว และ เขยาเพื่อใหกลับคืนไดยาก จะแกไขปญหาดังกลาวอยางไร 1. เติม sorbitol 2. เติม alcohol 3. เติม MC

4. เติม light liquid. ม hard liquid... 5. 9. ขอใดผิดเกี่ยวกับสิทธิของผูปวยรายนี้ 1. ผูปกครองสามารถขอทราบชื่อแพทยที่ทําการ รักษาได 2. ผูปกครองสามารถขอทราบยาที่ผูปวยไดรับได 3. ผูปวยมีสิทธิที่จะไดการรับการปกปดขอมูล 4. ผูปกครองสามารถขอคําปรึกษาจากแพทยทาน อื่นได 5. ผูปกครองไมสามารถขอดูเวชระเบียนการรักษา ได Case 12: HIV กับไมเกรน ผู ป ว ย กิ น ย า ต า น HIV สู ต ร AZT + 3TC + lopinavir/ritonavir มีอาการปวดหัวไมเกรนบอย กินยา แ ก ป ว ด หั ว ไ ม เ ก ร น ป ร ะ จํ า คื อ ergotamine + caffeine ผูปวยมีประวัติเปนโรคซึมเศรา และความดัน โลหิตสูง 1. ยาตาน HIV ที่ผูปวยไดรับมีผลรบกวนยาแกปวดหัวไม เกรนยังไง 1. ลดการดูดซึม ergotamine 2. เพิ่มการเมทาบอลิซึมของ ergotamine 3. ลดการเมทาบอลิซึมของ ergotamine 4. เพิ่มการขับออกของ ergotamine 5. ลดการขับออกของ ergotamine 2. ผูปวยคนนี้ควรไดรับการแกไขเรื่องยาอยางไร

1. เปลี่ยน ergotamine เปน naproxen sodium 2. เปลี่ยน ergotamine เปน flunarizine 3. เปลี่ยน ergotamine เปน propanolol 4. ลดขนาด ergotamine ลงครึ่งหนึ่ง 5. เพิ่มขนาด ergotamine ขึ้นครึ่งหนึ่ง 3. ยาที่ใชเพื่อปองกันไมเกรนที่เหมาะสมในผูปวยรายนี้ 1. Naproxen 2. Flunarizine 3. Amitriptyline 4. Verapamil 5. Atenolol . 4. ควรแนะนําอะไรใหกับผูปวยที่ใช ergotamine 1. กินยาซ้ําทุก 10 นาที 2. กินติดตอกัน 3 วัน 3. กินไดไมเกิน 6 เม็ด/วัน 4. ไมควรกินติดตอกันนานเนื่องจากจะทําใหเกิด อาการติดยา 5. ก 5. ขอใดไมใชผลขางเคียงจากการใชยา ergotamine 1. angina-like pain 2. weakness leg 3. hypotension 4. numbness ที่นิ้ว 5. 11

Rx

71

CU

(12)

จําไมไดวาอยูเคสไหน: 1. ให COA มาถามวาขอใดถูก เลขทะเบียน xxxx lot ที่ผลิต xxx วันที่ผลิต xxx วันที่หมดอายุ xxx Apperance White powder containing in blue capsule Identification Assay %LA 90-120 94% Average Weight รึเปลา? 555-625? 550 Weight Variation +/- 7.5% 5% Dissolution NLT 80% (Q) 88% % Water NMT 5% 4% 1. ผาน Dissolution

2. ไมมีการแสดงUniformity of Dosage Unit 3. ผาน Weight Variation 4. ไมผาน Water 5. ไมผาน Assay เพราะวิเคราะหได 550 แตเกณฑ คือ 555-625 2. ใหยา Tiotopium Vd = 36 L/kg Bioavailability = 20% T1/2 = 5 ผูปวยน้ําหนัก 50 kg ไดรับยา 18 mcg ตอวัน ถาอัตราเร็วในการดูดซึมยา เทียบเทา iv bolus จงหา ความเขมขนสูงสุดของยาในกระเเสเลือด 1. 2 ng/L 2. 5 ng/L 3. 1 ng/L 4. 10 ng/L 5. 20 ng/L 3. การหา Residual on Ignition คือการหาอะไร 1. ปริมาณของสาร organic 2. ปริมาณของสาร inorganic 3. ชนิดของสาร inorganic 4. ปริมาณของสารที่ระเหยได 5. ชนิดของสารที่ระเหยได 4. Dissolution มี monograph มาให Q = 80% และวิธี Interpret ผล Dissolution ถามวาขอใดถูก 1. Stage 2: ใหขอมูลมา 12 เม็ด ไมผานเพราะมี 1 เม็ดนอย กวา 65% 2. Stage 2: ใหขอมูลมา 12 เม็ด ผานเพราะไมมีเม็ดใดนอย กวา 65% และคาเฉลี่ยมากกวา 80% 3. Stage 1: ใหขอมูลมา 6 เม็ด ไมผานเพราะมี 1 เม็ดนอย กวา 85% 4. Stage 1: ใหขอมูลมา 6 เม็ด ไมผานเพราะมี 1 เม็ดนอย กวา 85% 5. Stage 1: ไมผานเพราะใหคาเฉลี่ยมา 5. เปรียบเทียบประสิทธิภาพระหวางยาจริงกับยาหลอก วัดผลโดยคะแนน 1-100 โดยมีการกระจายขอมูลแบบ normal distribution 1. U man-whitney 2. Pair t-test 3. Independent t-test 4. Multiple linear regression 5. Cox proportional hazard ratio

12

Rx

71

(13)

6. ยาอะไรชวยในการขจัดยานี้ 1. acetylcysteine 2. ascorbic acid 3. Sodium bicarbonate 4. pyridoxine 5. phenzopyridine 8. CL ยาทําเพื่อจุดประสงคอะไร 1. เขาถึงยา 2. เพื่อใหเกิดการพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตยา สมุนไพร ชีววัตถุ ภายในประเทศเพื่อพึ่งพาตร เองมากยิ่งขึ้น 3. ใชยาอยางสมเหตุสมผล 4. เพื่อยุติการสงเสริมการขายที่ผิดจริยธรรม 5. สงเสริมการพัฒนาระบบควบคุมคุณภาพ เพื่อให มีการประกันคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความ ปลอดภัยที่ดี 9. รานยาคุณภาพรับรองโดยหนวยงานใด 1. เภสัชกรรมสมาคมแหงประเทศไทยในพระบรม ราชูปถัมภ 2. วิทยาลัยเภสัชบําบัด 3. สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา 4. สภาเภสัชกรรม 5. สมาคมเภสัชกรรมชุมชน

10. ให Monograph ของยา Glipizide Tablets? เเลว ถามวาวิธี Identification ใชเทคนิคอะไรบาง 1. GC 2. HPLC 3. TLC 4. HPLC and TLC 5. GC และ HPLC 11. การ modify โครงสรางยาสวนไหนทําใหมีฤทธิ์เพิ่มขึ้น 1. เติม halogen ที่คารบอนตําแหนง 9 2. เติม halogen ที่คารบอกตําแหนง 7 3. เปลี่ยน ring A เปน heterocyclic ring 4. เปลี่ยนตําแหนง 4 เปนพันธะเดี่ยว 5. ตําแหนงสองเปลี่ยน C=O เปน C=N 12. ใหพิจารณายาเขาโรงพยาบาล โดยทุก regimen มี ประสิทธิภาพการรักษาเทากัน ตาม Cost mionimization analysis (CMA) แลวควรเลือกยาในขอใด 1. ราคา 10 บาท กินยาครั้งละ 1 เม็ด วันละ 4 ครั้ง 5 วัน 2. ราคา 15 บาท กินยาครั้งละ 1 เม็ด วันละ 3 ครั้ง 5 วัน 3. ราคา 20 บาท กินยาครั้งละ 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง 7 วัน 4. ราคา 30 บาท กินยาครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง 7 วัน 5. ราคา 40 บาท กินครั้งละ 4 เม็ด ครั้งเดียว 13

Rx

71

CU

(14)

13. recall ผลิตภัณฑ ขอใดผิด 1. การ Recall ยาตองทําไดทันที 2. ผูควบคุมตองเปนฝายขายกับการตลาดเทานั้น 3. มีการนับจํานวนที่ขายกับที่เรียกคืนได 4. มีการแยกผลิตภัณฑไวในพื้นที่กักกันเฉพาะ 5. มีการเขียน SOP การเรียกเก็บยาคืนและ ปรับปรุงใหเปนปจจุบันอยูเสมอ 14. ขอใดคือ preservative ของตํารับ 1. benzyl alcohol 2. disodium sulfate 15. สมุนไพรที่ลดไขมันได 1. กระเทียม 2. บอระเพ็ด 3. สามารถ 16. ลักษณะบรรจุภัณฑที่มีลักษณะเปนพลาสติกยื่น ออกมาเปนกระเปาะ แลวมีอลูมิเนียมประกบติดทับ ดานหลัง สามารถที่จะทําใหฉีกขาดไดเมื่อตองการนําเม็ด ยาออกมารับประทาน 1. alu-alu 2. blister 3. foil 4. strip 5. sachet 17. การใช statin รวมกับ gemfibrozil จะตองตรวจการ ทํางานของอะไร 1. กลามเนื้อ 18. การใช statin รวมกับ Gemfibrozil ทําใหเกิดอาการ ขางเคียงผานกลไกใด 1. CYP 3A4 2. CYP 2C9 3. Glucorination

4. ยับยั้ง enzyme carbonic anhydrase 5. ยับยั้ง OATP1B1 19. ยาขอไหนไมสามารถดูดซึมเขาสูกระแสเลือดได เมื่อ ใหโดยวิธีรับประทาน 1. 2. 3. 4. 5. 14

Rx

71

CU

Referências

Documentos relacionados

Critério de Julgamento: Menor Preço Critério de Valor: Valor Estimado Unidade de Fornecimento: Unidade Aplicabilidade Decreto 7174/2010: Sim.. Quantidade

Reformular a identificação das etapas do processo produtivo geradoras de resíduos, identificando para cada uma os resíduos gerados (perigosos e não perigosos) e

Nos 50 doentes com genótipos com mutações suscetíveis, não se observaram diferenças entre grupos na variação do GFR (estimada ou medida) entre o baseline e o mês 6.. Nos

Existem alguns modelos que podemos utilizar o sistema fotovoltaico que são (i) edificações conectadas à rede, onde a energia produzida é inserida direto na rede elétrica; (ii)

2.7 A Central Leiloes Ltda atua como intermediária das transações, sendo responsável pela organização e coordenação do evento, não se responsabilizando pelo inadimplemento

[r]

Todas as listas são apresentadas e estão ordenadas conforme disponibilizado pela

60 Concessionárias e permissionárias de distribuição de energia elétrica fornecem energia aos consumidores cativos, de acordo com tarifas definidas pela ANEEL, que consideram custos